0
การบัญชีต้นทุน 1 (PDF)
หนังสือเล่มนี้รวบรวมสาระสำคัญเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุนไว้อย่างครบถ้วน ประกอบด้วยเนื้อหาและตัวอย่างที่อ่านเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับคณาจารย์ นักศึกษา และผู้ที่สนใจ รายได้ส่วนหนึ่งจะนำไปบริจาคเพื่อสาธารณะกุศล
e-books(PDF) ?220.00 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

หนังสือการบัญชีต้นทุน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 จัดทำขึ้นในรูปแบบ e-book เนื้อหาประกอบด้วย บทบาทและความสำคัญของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ แนวคิดของการบัญชีต้นทุน ความหมายของต้นทุนและการจำแนกประเภทต้นทุน การบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนกิจกรรม ระบบบัญชีต้นทุนมาตรฐาน และการบัญชีสำหรับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้

สารบัญ

บทที่ 1 แนวคิดและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
- ความสำคัญของข้อมูลทางการบัญชีที่มีต่อการบริหารงาน
- ประเภทของการจัดทำบัญชี
- วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน
- ความสัมพันธ์และความแตกต่างของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหาร
- ความหมายและการจำแนกประเภทต้นทุน
- ประโยชน์ที่ได้จากการใช้ข้อมูลต้นทุน
- จรรยาบรรณของนักบัญชีต้นทุน
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 1

บทที่ 2 ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบการเงิน
- ความแตกต่างระหว่างธุรกิจซื้อมาขายไปและธุรกิจผลิตสินค้า
- การจัดโครงสร้างองค์กรในธุรกิจผลิตสินค้า
- สถานภาพของแผนกบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ
- หน้าที่ของแผนกบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ
- ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการเลือกระบบบัญชีต้นทุน
- การจำแนกประเภทระบบบัญชีต้นทุน
- การกำหนดผังบัญชีของธุรกิจผลิตสินค้า
- วงจรการบันทึกต้นทุนการผลิต
- การจัดทำรายงานทางการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า
- สรุป
- คำศัทพ์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 2

บทที่ 3 การบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบ
- ความหมายและประเภทของวัตถุดิบ
- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อวัตถุดิบ
- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการเบิกใช้วัตถุดิบ
- การคำนวณต้นทุนวัตถุดิบเบิกใช้ในการผลิตและการตีราคาวัตถุดิบคงเหลือ
- การตรวจนับวัตถุดิบคงเหลือเป็นครั้งคราว
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 3

บทที่ 4 การบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน
- ความหมายของค่าแรงงาน
- ประเภทของค่าแรงงาน
- ขั้นตอนในการรวบรวมต้นทุนค่าแรงงาน
- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน
- การจ่ายค่าแรงงานในรูปผลตอบแทนและสวัสดิการอื่น ๆ
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 4

บทที่ 5 การบัญชีเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายการผลิต
- ความหมายและประเภทของค่าใช้จ่ายการผลิต
- พฤติกรรมของค่าใช้จ่ายการผลิต
- ค่าใช้จ่ายการผลิตในระบบบัญชีต้นทุนจริงและระบบบัญชีต้นทุนปกติ
- การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร
- การจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิต
- การรวบรวมค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดขึ้นจริง
- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายการผลิต
- การปันส่วนผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต
- การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรรายแผนก
- วิธีการปันส่วนงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตของแผนกบริการไปยังแผนกผลิต
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 5

บทที่ 6 การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
- ลักษณะสำคัญของระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
- การเก็บรวบรวมข้อมูลต้นทุนในระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
- การบันทึกบัญชีในระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
- การบันทึกบัญชีในระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
- กรณีมีแผนกผลิตหลายแผนก
- การบัญชีเกี่ยวกับของเสีย สินค้ามีตำหนิ เศษวัตถุดิบ ในระบบต้นทุนงานสั่งทำ
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 6

บทที่ 7 การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
- ลักษณะสำคัญของระบบต้นทุนช่วงการผลิต
- ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างการบัญชีต้นทุนงานสั่งทำและการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
- รูปแบบกระบวนการผลิตสำหรับธุรกิจผลิตสินค้า
- การบันทึกบัญชีในระบบต้นทุนช่วงการผลิต
- วิธีการคำนวณหน่วยเทียบเท่าผลิตเสร็จ
- การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ในระบบต้นทุนช่วงการผลิต
- การจัดทำรายงานการผลิตวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 7

บทที่ 8 การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต (ต่อ)
- การคำนวณหน่วยเทียบเท่าผลิตเสร็จวิธีเข้าก่อนออกก่อน
- การคำนวณต้นทุนการผลิตวิธีเข้าก่อนออกก่อน
- การจัดทำรายงานการผลิตวิธีเข้าก่อนออกก่อน
- ข้อแตกต่างระหว่างการจัดทำรายงานการผลิต
- วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักและวิธีเข้าก่อนออกก่อน
- การจัดทำรายงานการผลิตกรณีมีหน่วยผลิตเพิ่ม
- การตรวจสอบหน่วยเสีย
- การแบ่งประเภทของหน่วยเสีย
- การกำหนดขอบเขตของหน่วยเสียปกติ
- วิธีการบัญชีเกี่ยวกับหน่วยเสียหรือหน่วยสูญ
- การจัดทำรายงานการผลิตกรณีมีหน่วยเสีย
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 8

บทที่ 9 การบัญชีต้นทุนกิจกรรม
- แนวคิดของการบัญชีต้นทุนกิจกรรม
- การออกแบบระบบบัญชีต้นทุนกิจกรรม
- การบันทึกบัญชีในระบบต้นทุนกิจกรรม
- ประโยชน์และข้อจำกัดของระบบบัญชีต้นทุนกิจกรรม
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 9

บทที่ 10 การบัญชีต้นทุนมาตรฐาน
- บทบาทของต้นทุนมาตรฐานต่อการบริหารธุรกิจ
- ประเภทของมาตรฐาน
- ประโยชน์และข้อบกพร่องของต้นทุนมาตรฐาน
- การกำหนดต้นทุนมาตรฐาน
- การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
- การบันทึกบัญชีในระบบต้นทุนมาตรฐาน
- การปิดผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 10

บทที่ 11 การบัญชีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
- ความหมายและลักษณะของผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
- ลักษณะกระบวนการผลิตที่มีเฉพาะผลิตภัณฑ์ร่วม
- หลักเกณฑ์ในการแบ่งสรรต้นทุนร่วมให้แก่ผลิตภัณฑ์ร่วม
- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วม
- การตีราคาผลิตภัณฑ์ร่วมคงเหลือ
- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์พลอยได้
- สรุป
- คำศัพท์ภาษาอังกฤษท้ายบทที่ 11

ข้อมูลเพิ่มเติม

หนังสือการบัญชีต้นทุน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 จัดทำขึ้นในรูปแบบ e-book เนื้อหาประกอบด้วย บทบาทและความสำคัญของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ แนวคิดของการบัญชีต้นทุน ความหมายของต้นทุนและการจำแนกประเภทต้นทุน การบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนกิจกรรม ระบบบัญชีต้นทุนมาตรฐาน และการบัญชีสำหรับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
ข้าพเจ้าต้องขอบพระคุณคณะกรรมการพิจารณาความถูกต้องครอบคลุมของเนื้อหาวิชาของตำราการบัญชีต้นทุน ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ ปานมณี และ รองศาสตราจารย์ดุษณีย์ ส่องเมือง ที่กรุณาพิจารณาความถูกต้องครอบคลุมของเนื้อหา เพื่อให้หนังสือเล่มนี้มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาการเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่าตำราเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่คณาจารย์ นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี รวมถึงผู้ที่สนใจ หากมีความผิดพลาดประการใดเกิดขึ้นในตำราเล่มนี้ ข้าพเจ้าขอน้อมรับไว้และพร้อมที่จะนำไปปรับปรุงแก้ไขในการจัดพิมพ์ครั้งต่อไป
รายได้ส่วนหนึ่งจากการจำหน่ายหนังสือนี้ขอบริจาคเพื่อสาธารณะกุศลต่อไป

คำนิยม
เป็นหนังสือการบัญชีต้นทุนที่มีเนื้อหาและตัวอย่างครบถ้วน อ่านเข้าใจง่าย สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
รายละเอียดหนังสือ
รหัสสินค้า: 5522840308801 (PDF) 590 หน้า
ชนิดกระดาษ: PDF
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน