0
ตัวตนใหม่ของสยามในโลกา: การต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่ 7
ในช่วงเวลาที่พาดผ่านสมัยรัชกาลที่ 7 สยามได้ดำเนินความสัมพันธ์กับต่างประเทศในทิศทางใหม่ให้ปรากฏตัวตน เป็นประเทศเอกราชที่เสมอภาคกับนานาอารยะประเทศ
หนังสือ237.50 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

    การต่างประเทศของสยามตั้งแต่ ค.ศ.1920 (พ.ศ.2463) ถึง ค.ศ. 1938 (พ.ศ.2481) ซึ่งเป็นกาลเวลาที่พาดผ่านสมัยรัชกาลที่ 7 มีทั้งความต่อเนื่องและความเปลี่ยนแปลงในบริบทปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ประเทศซึ่งมีอิทธิพลต่อการดำเนินการความสัมพันธ์กับต่างประเทศ สาระและประเด็นสำคัญ ได้แก่ การเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศตะวันตก การมีบทบาทที่แข็งขันในสันนิบาตชาติ ซึ่งเป็นเวทีระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์กับมหาอำนาจ และพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในการเสด็จพระราช ดำเนินเยือนดินแดนเพื่อนบ้านและประเทศตะวันตกต่าง ๆ ทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงการปรากฏตัวตน และทิศทางใหม่ของสยามในการดำเนินความสัมพันธ์กับต่างประเทศในฐานะที่เป็น ประเทศเอกราชที่มีความเท่าเทียมกับนานาอารยประเทศ

สารบัญ

บทที่ 1 ความมุ่งหมาย ขอบเขต และแนวทางการศึกษา
บทที่ 2 บริบท/แหล่งที่มาของนโยบายต่างประเทศสยาม
บทที่ 3 สยามกับสันนิบาตชาติ
บทที่ 4 การแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาค
บทที่ 5 สยามกับมหาอำนาจ
บทที่ 6 การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศเพื่อนบ้าน
บทที่ 7 การเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหรัฐอเมริกาและยุโรป
บทที่ 8 เป้าหมาย รูปแบบ และทิศทางการต่างประเทศสยาม

รายละเอียดหนังสือ
ISBN: 9786169261230 (ปกอ่อน) 400 หน้า
ขนาด: 146 x 210 x 18 มม.
น้ำหนัก: 455 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ
ชนิดกระดาษ: กระดาษปอนด์
สำนักพิมพ์ประชาธิปก-รำไพพรรณี, มูลนิธิ
เดือนปีที่พิมพ์: --/2016
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน