0
สิทธิบัตร แนวความคิดและบทวิเคราะห์
หนังสือ427.50 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

         สารัตถะของหนังสือเล่มนี้อยู่ที่การวิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์ บทบาทของกฎหมายสิทธิบัตรที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศกำลังพัฒนา กฎหมายสิทธิบัตรนั้นเป็นกฎหมายเศรษฐกิจลักษณะหนึ่ง ที่มีเจตนารมณ์ในการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสร้างความเติบโตทางอุตสาหกรรม ซึ่งประเทศกำลังพัฒนารับเอากฎหมายลักษณะนี้มาใช้ จำเป็นต้องเข้าใจลักษณะและผลของการใช้กฎหมายดังกล่าวอย่างลึกซึ้ง เพื่อจะทำให้กฎหมายสิทธิบัตรเป็นกลไกในการพัฒนาประเทศได้ตามความมุ่งหมาย ซึ่งผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้ได้ช่วยให้เกิดการเรียนรู้กฎหมายสิทธิบัตรในแง่มุมต่างๆ ได้อย่างลุ่มลึก

สารบัญ

1. หลักการพื้นฐานของกฎหมายสิทธิบัตร
2. เงื่อนไขของการขอรับสิทธิบัตร
3. สิ่งที่ได้รับความคุ้มครอง
4. สิทธิบัตรกับการคุ้มครองเทคโนโลยีชีวภาพ
5. สิทธิบัตรกับการคุ้มครองทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น
6. การได้มาซึ่งสิทธิบัตรและอายุการคุ้มครอง
7. การคุ้มครองสิทธิบัตรระหว่างประเทศ
8. สิทธิบัตรกับการค้าระหว่างประเทศ
9. การละเมิดสิทธิบัตร
10. การระงับสิ้นไปของสิทธิตามสิทธิบัตร
11. การควบคุมการใช้สิทธิบัตรโดยมิชอบ
12. บทบาทของกฎหมายสิทธิบัตรในการพัฒนา

ข้อมูลเพิ่มเติม

ดร.จักรกฤษณ์ ควรพจน์
การศึกษา
- ม.ต้นและม.ปลาย โรงเรียนเทพศิรินทร์
- นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- เนติบัณฑิตไทย
- Master of Laws (LL.M.) จาก University of Warwick (อังกฤษ)
- Doctor of Philosophy (Ph.D.) จาก University of Aberdeen สหราชอาณาจักร (สก็อตแลนด์)
ตำแหน่ง
- รองศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

- เขียนตำราหลายฉบับ และทำงานวิจัยทาง กฎหมายหลายชิ้น อาทิ กฎหมายสิทธิบัตร แนวความคิดและบทวิเคราะห์ กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้า "กฎหมายและนโยบายระหว่างประเทศในการบริหารจัดการทรัพยากรพันธุกรรม และคุ้มครองส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น"

รายละเอียดหนังสือ
ISBN: 9747737744 (ปกอ่อน) 590 หน้า
ขนาด: 185 x 260 x 30 มม.
น้ำหนัก: 1080 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ
สำนักพิมพ์นิติธรรม, สนพ.
เดือนปีที่พิมพ์: 2001
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน