0
หมุนนาฬิกาสู่เวลาทางสังคม
อธิบายแนวคิดพื้นฐานเรื่องเวลาทางสังคม ที่นำเสนอโดย "เอมิล ดูร์ไกม์" นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส และบรรดานักวิชาการในสำนักดูร์ไกม์เมียน อันเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้เวลาในการเข้าใจสังคม
หนังสือ185.25 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

    เวลามีเพียงหนึ่งเดียวหรือเปล่า? และเวลาเป็นสิ่งที่วัดได้เสมอไปหรือไม่? หนังสือ "หมุนนาฬิกาสู่เวลาทางสังคม" เล่มนี้ พยายามอธิบายแนวคิดพื้นฐานเรื่องเวลาทางสังคม ที่นำเสนอโดย "เอมิล ดูร์ไกม์" หนึ่งในบิดาผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยา รวมไปถึงลูกศิษย์สายสังคมวิทยา "สำนักดูร์ไกม์เมียน" หลายท่านอย่าง อองรี อูแบร์ (Henri Hubert), มาร์เซล โมสส์ (Marcel Mauss), โมริส ฮาล์บวาซ (Maurice Halbwachs) และจอร์จ เกอวิช (Georges Gurvitch) เป็นต้น อันเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้เวลาในการเข้าใจสังคม และอธิบายความสัมพันธ์ต่าง ๆ ทางสังคม

สารบัญ

ภาคที่ 1
- เวลาทางสังคมของเอมิล ดูร์ไกม
- เวลาของสำนักดูร์ไกมเมียน
- ความขัดแย้งในตัวเองของเวลาทางสังคม ของสำนักดูร์ไกมเมียน
- เวลาทางสังคมสายหน้าที่นิยมของ พิทิริม โซโรดิน และโรเบิร์ต เมอร์ตัน
- อนาคต-เวลาในพยากรณ์ : การพยากรณ์ที่ตนดลให้เป็นจริง ของโรเบิร์ต เมอร์ตัน
ฯลฯ

ภาคที่ 2
- จอร์จ กองโดมินาสกับมโนทัศน์ทางมานุษยวิทยา ว่าด้วย "ระยะทางสังคม"
- เวลาและพื้นที่ของจอร์จ กองโดมินาส
- ดูร์ไกม์ โมสส์และกองโดมินาส : จากข้อเท็จจริงทางสังคมสู่ระยะทางสังคม
- สรรพสนามล้วนอยู่บนฐานของระยะเวลาและระยะทาง
- พหุสัมพันธ์และระบบความสัมพันธ์ที่หลากหลาย ก่อเกิดเป็นระยะทางสังคม
- ระยะทางสังคม (espace social) กับวัฒนธรรม (culture)

รายละเอียดหนังสือ
ISBN: 9786168215227 (ปกอ่อน) 176 หน้า
ขนาด: 128 x 185 x 10 มม.
น้ำหนัก: 180 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ
ชนิดกระดาษ: กระดาษถนอมสายตา
สำนักพิมพ์ILLUMINATIONS
เดือนปีที่พิมพ์: 8/2020
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน