0
เศรษฐศาสตร์การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
หนังสือ361.00 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

    นำเสนอเนื้อหาที่สำคัญเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ โดยในเล่มได้ให้เนื้อหาอย่างละเอียด ไม่ว่าจะเป็นความหมาย สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีและทางเศรษฐกิจ การค้าระหว่างประเทศ การผลิตและการลงทุนทางตรงระหว่างประเทศ การเงิน การวิเคราะห์โอกาส การเข้าตลาดต่างประเทศ รวมถึงกลยุทธ์โครงสร้างองค์การในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ และการตลาดระหว่างประเทศ ถ่ายทอดอย่างเป็นลำดับขั้นตอน เข้าใจง่าย

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม การเมือง และกฎหมาย
บทที่ 3 สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี และทางเศรษฐกิจ
บทที่ 4 การค้าระหว่างประเทศ
บทที 5 การผลิตและการลงทุนทางตรงระหว่างประเทศ
บทที 6 การเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 7 การวิเคราะห์โอกาสและวิธีการเข้าตลาดต่างประเทศ
บทที่ 8 กลยุทธ์และโครงสร้างองค์การในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ
บทที่ 9 การตลาดระหว่างประเทศ

ข้อมูลเพิ่มเติม

ประวัติผู้เขียน

รศ.รัตนา สายคณิต

การศึกษา
- เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) คณะพณิชยศาสตร์และการบัญชี
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- Dip. in Managerial Economics. The School of Economics &
Business Administration, Sweden.
- M.B.A. The School of Economics & Business Administration,
Sweden.
- Dip. in Economic Development, University of Manchester,
England.
ผลงาน
- เศรษฐศาสตร์การลงทุนทางตรงระหว่างประเทศ
- พื้นฐานเศรษฐศาสตร์มหภาค
- มหเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ : จากทฤษฎีสู่นโยบาย
- เศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการ
- หลักเศรษฐศาสตร์ II: มหเศรษฐศาสตร์

ฯลฯ

ประวัติผู้เขียน

รศ.ดร.พุทธกาล รัชธร

การศึกษา
- เศรษฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- Ph.D. in Management (International Economics) Keio
University, Japan
- Cert. in Health Economics, University of York สหราชอาณาจักร
ผลงาน
- ลำดับเหตุการณ์ด้านนโยบายแลกเปลี่ยนของประเทศไทย พ.ศ.2485-
2527
- หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
- การศึกษาวิจัยตลาดและความเป็นไปได้ของการผลิตอาหารสัตว์บก
ฯลฯ

รายละเอียดหนังสือ
ISBN: 9749993411 (ปกอ่อน) 471 หน้า
ขนาด: 190 x 260 x 21 มม.
น้ำหนัก: 850 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ศูนย์หนังสือ
เดือนปีที่พิมพ์: 06/2006
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน