0
เส้นทางประชาคมจีน-อาเซียน ความร่วมมือและการพัฒนาตามแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูง จีน-ลาว-ไทย (ปกแข็ง)
บันทึกความสำคัญของการสร้างรถไฟความเร็วสูงครั้งแรกในประเทศไทย ร่วมสำรวจทำความเข้าใจเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ ภูมิรัฐศาสตร์ และเกมการเมืองที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หนังสือ760.00 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

    บันทึกความสำคัญของการสร้างรถไฟความเร็วสูงครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย...

    "เส้นทางประชาคมจีน-อาเซียน ความร่วมมือและการพัฒนาตามแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูง จีน-ลาว-ไทย" เล่มนี้ จะนำผู้อ่านทุกท่านร่วมสำรวจทำความเข้าใจเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ ภูมิรัฐศาสตร์ และเกมการเมืองที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ว่าเหตุใดจึงส่งผลกระทบต่อการสร้างการเชื่อมต่อรถไฟความเร็วสูงจีน-ลาว-ไทย และร่วมตระหนักถึงความสำคัญของความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์จีน-ไทยด้วยข้อริเริ่ม "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง" ว่าจะสร้างโอกาสในการพัฒนาที่สำคัญต่อโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยอย่างไร เพื่อบรรลุสันติภาพ เสถียรภาพ และการพัฒนาร่วมกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สารบัญ

บทที่ 1 ประเทศตามแนวเส้นทางแม่น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขง กับการพัฒนาภูมิภาคที่ไม่สมดุล
1. ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขง จากภาพถ่ายดาวเทียมยามค่ำคืน
2. ทางรถไฟรางแคบของคาบสมุทรอินโดจีน ที่ขาดการเชื่อมต่อและล้าหลัง
3. ความร่ำรวยมั่งคั่งที่ถูกจำกัดด้วยสนามบินและระยะทาง
4. สิ่งที่เลวร้ายยิ่งกว่าความยากจนคือไม่มีหนทางพ้นจากความยากจน

บทที่ 2 เส้นทางรถไฟจีน-ลาว-ไทยภายใต้เกมการเมือง
1. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้ภูมิรัฐศาสตร์เกมการเมือง
2. การพัฒนารถไฟความเร็วสูงจีน-ไทยมีความยอกย้อนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มองไม่เห็น
4. แผนการท่องเที่ยวด้วยรถไฟความเร็วสูงที่ยากเกินดำเนินการ

บทที่ 3 ข้อริเริ่ม "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง" การเชื่อมต่อถึงกันระหว่างจีนกับอาเซียน
1. "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง" เสริมสร้างการเชื่อมต่อถึงกันระหว่างจีน-ลาว-ไทย
2. ความร่วมมือด้านนโยบายและแผนพัฒนาแห่งชาติของไทย
3. ภูมิปัญญาทางการเมืองและแผนการที่กำหนดการเชื่อมต่อโครงสร้างพื้นฐาน
4. ความคิดเห็นสาธารณะของการรถไฟจีน-ลาว-ไทย.

บทที่ 4 เส้นทางรถไฟจีน-ลาว-ไทยร่วมมือกันสู่ความมั่งคั่ง
1. ขจัดความยากจนด้วยภูมิปัญญาจีน
2.เส้นทางรถไฟความเร็วสูงจีน-ไทย นำโอกาสใหม่มาสู่ความร่วมมือทางธุรกิจ
3. การคาดการณ์ความเปลี่ยนแปลง ตามแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูงจีน-ไทย
4. เส้นทางรถไฟจีน-ลาวนั้นตรงกับสำนวนจีนที่ว่า "ความสูงต่ำมิอาจวัดค่าบรรพต ความยาวมิอาจวัดค่าผืนน้ำ"

บทที่ 5 ซะตาชีวิตร่วมกัน จับมือก้าวสู่อนาคตด้วยกัน
1. ประชาคมแห่งผลประโยชน์ร่วมกันคือปัจจุบันและอนาคต
2. ความทุกข์ยากนั้นแสดงให้เห็นถึงความรัก หน้าที่ และความรับผิดชอบของจีน
3. สันติภาพ ความมั่นคง และการพัฒนา เป็นการสร้างแรงบันดาลใจร่วมกัน
4. แนวคิดของประธานาธิบดีสี จิ้นผิง แสดงถึงยุคใหม่ในเอเชีย

รายละเอียดหนังสือ
ISBN: 9786165946247 (ปกแข็ง) 228 หน้า
ขนาด: 150 x 218 x 15 มม.
น้ำหนัก: 375 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ
ชนิดกระดาษ: กระดาษปอนด์
สำนักพิมพ์วิรุฬห์ พิชัยวงศ์ภักดี
เดือนปีที่พิมพ์: 2023
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน