0
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา GS ๔๑๑๐๕ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองของไทย (Thai Constitutions and Political Institutions) หลกัสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
GS ๔๑๑๐๕ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองของไทย (Thai Constitutions and Political Institutions) เ ป็ นร า ยวิ ช า ใ น หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
e-books(PDF) ?250.00 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

-GS ๔๑๑๐๕ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองของไทย
(Thai Constitutions and Political Institutions) เ ป็ นร า ยวิ ช า ใ น
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีขอบข่ายในการศึกษา
ก าหนดให้ “ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญ
ความหมายและประเภทของรัฐธรรมนูญ ศึกษาปรัชญาของ
แนวคิดต่างๆ ของระบบรัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism)
แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนหลักประกันในการ
คุ้มครองสิทธิเสรีภาพ หลักประชาธิปไตย หลักนิติธรรม (Rule of
Law) หลักการแบ่งแยกอ านาจและถ่วงดุลอ านาจซึ่งกันและกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดต่อ
รัฐธรรมนูญตามหลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
รวมท้งัศึกษาโครงสร้างและเน้ือหาของรัฐธรรมนูญไทย ระบบ
พรรคการเมืองและระบบการเลือกต้งัตามรัฐธรรมนูญไทย”

สารบัญ

-สารบัญ
สัปดาห์ที่ 1 แนะน าวิชา (หน้า 11)
สัปดาห์ที่ 2 ความหมายและแนวคิดของรัฐธรรมนูญ (หน้า 11)
ครอบคลุมเรื่ อง 1) นิยาม รัฐธรรมนูญ ในยุคกรี กโบราณ ยุค
จักรวรรดิโรมัน ในแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม และ ในแนวคิด
กฎหมายมหาชน รัฐธรรมนูญ ในฐานะเป็ นกฎหมายมหาชน 2)
รูปแบบและประเภทของรัฐธรรมนูญ
สัปดาห์ที่3 ที่มาหรือแหล่งกา เนิดของรัฐธรรมนูญ (หน้า 25)
ครอบคลุมเรื่ อง 1) ของรัฐธรรมนูญเกิดจากปัจจัยก าหนด 4
ประการ 2) ที่มาของรัฐธรรมนูญ 5แหล่ง 3)รัฐธรรมนูญของไทยที่
ได้มาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่
7 และรัฐธรรมนูญของญี่ปุ่นที่ไดม้ าในช่วงหลงัสงครามโลกคร้ังที่
2
สัปดาห์ที่ 4 รัฐธรรมนูญกับการก าหนดโครงร่างทางการเมืองการ
ปกครอง (หน้า 34)
6
ครอบคลุมเรื่อง 1) รัฐธรรมนูญของรัฐโดยทั่วไปมีลักษณะร่วม
ของเน้ือหาสาระที่คล้ายคลึงกันอยู่ในส่วนที่เป็นองค์ประกอบ
ส าคัญเกี่ยวกับรัฐ 2) รัฐธรรมนูญกับการก าหนดโครงสร้างทาง
การเมืองการปกครองในกรณีของประเทศสหรัฐอเมริ กา 3)
รัฐธรรมนูญกับการก าหนดโครงสร้างทางการเมืองการปกครองใน
กรณีของประเทศสหราชอาณาจักรอังกฤษ
สัปดาห์ที่ 5 รัฐธรรมนูญกบักระบวนการทางการเมือง (หน้า 46)
ครอบคลุมเรื่อง 1) รัฐธรรมนูญกับกระบวนการทางการเมืองใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา 2)รัฐธรรมนูญกับกระบวนการทางการเมือง
ในประเทศอังกฤษ 3) รัฐธรรมนูญกับกระบวนการทางการเมืองใน
ประเทศฝรั่งเศส
สัปดาห์ที่ 6รัฐธรรมนูญกบัการพฒั นาการเมือง (หน้า 58)
ครอบคลุมเรื่ อง 1) สาระส าคัญของลัทธิรัฐธรรมนูญ หรื อ
รัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) 2)รัฐธรรมนูญเป็ นเครื่องมือ
ในการปฏิรูปหรือพัฒนาทางการเมืองในประเทศสหรัฐอเมริกา 3)
7
รัฐธรรมนูญเป็ นเครื่องมือในการปฏิรูปหรือพัฒนาทางการเมืองใน
ประเทศเยอรมนีและฝรั่งเศส
สั ปดาห์ ที่ 7 ความสั มพันธ์ระหว่ างรัฐกับพลเมืองในระบบ
ประชาธิปไตย(หน้า 68)
ครอบคลุมเรื่ อง 1) สิ ทธิ เสรี ภาพของพลเมืองในประเทศ
สหรัฐอเมริกา 2) สิทธิเสรีภาพของพลเมืองในประเทศสหราช
อาณาจักร(อังกฤษ) 3) ระเบียบความสงบเรียบร้อยของรัฐและสิทธิ
เสรีภาพของพลเมืองมีการสร้างสมดุลระหว่างกันอย่างไร
สัปดาห์ที่ 8 การรับรองสิทธิพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ (หน้า 79)
ครอบคลุมเรื่ออง 1) สิทธิข้นั พ้ืนฐานของประชาชนชาวรัสเซียและ
ประชาชาวฝรั่งเศส 2) สิทธิข้นั พ้ืนฐานของประชาชนชาวองักฤษ
และประชาชนชาวสหรัฐอเมริกา 3) สิทธิข้นั พ้ืนฐานของประชาชน
ชาวไทย
8
สัปดาห์ที่ 9 สอบกลางภาค (หน้า 86)
สัปดาห์ที่ 10 การรับรองความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญ (หน้า
86)
ครอบคลุมเรื่อง 1) ความเสมอภาคในรัฐธรรมนูญของประเทศ
ประชาธิปไตย 2)ความเสมอภาคในประเทศอังกฤษ และประเทศ
รัสเซีย 3) ความเสมอภาคในรัฐธรรมนูญของประเทศไทย
สัปดาห์ที่ 11 สิทธิเสรีภาพในทางปฏิบัติ(หน้า 96)
ครอบคลุมเรื่อง 1) สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคในทางปฏิบัติ
ในประเทศสหรัฐอเมริกา 2) สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค
ในทางปฏิบัติในประเทศอังกฤษ 3) สิทธิเสรีภาพและความเสมอ
ภาคในทางปฏิบัติในประเทศไทย
สัปดาห์ที่ 12 ประวัติและรัฐธรรมนูญไทย(หน้า 104)
ครอบคลุมเรื่อง 1) สาเหตุที่ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญหลายฉบับ
หรือเป็ นประเทศที่ใช้รัฐธรรมนูญเปลือง 2) ประเทศไทยมีระบอบ
การเมืองการปกครองที่จ าแนกได้ถึง 3ลักษณะ 3) ลักษณะส าคัญ
9
ทางการเมืองการปกครองและลักษณะส าคัญที่เกี่ยวกับตัว
รัฐธรรมนูญของประเทศ
สัปดาห์ที่ 13 เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญไทย (หน้า 117)
ครอบคลุมเรื่อง 1)รัฐธรรมนูญไทยที่ประกาศใช้ในช่วงที่ประเทศมี
ชื่อประเทศสยาม และรัฐธรรมนูญไทยที่ได้ประกาศใช้ในช่วงที่
ประเทศมีชื่อว่าประเทศไทย 2) รัฐธรรมนูญไทยฉบับใดได้
ประกาศใช้ในช่วงต่างๆและ 3) ค าปรารภของรัฐธรรมนูญไทยแต่
ละฉบับ
สัปดาห์ที่ 14รัฐธรรมนูญกบัการพัฒนาการเมืองไทย (หน้า 138)
ค ร อ บ ค ลุ ม เ รื่ อ ง 1 ) ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ บ บ ตัว แ ท น
(Representative Democracy)เป็ นแนวท าง ที่ จะ ต้อง อิ ง อ ยู่กับ
หลักการส าคัญอะไรบ้าง 2) แนวทางในการพัฒนาการเมืองใน
ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมว่ามีแนวทางอะไรบ้าง 3).
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ว่าไดม้ีขอ้ เอ้ือต่อ
การพัฒนาทางการเมืองของไทยในระบอบประชาธิปไตยอย่างไร
บ้าง
10
สัปดาห์ที่ 15 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (หน้า
152)
ครอบคลุมเรื่อง 1) ประวัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 25560 2) เน้ือหาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พ.ศ.
25560 3)ข้อวิจารณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
25560
สัปดาห์ที่ 16 พรรคการเมืองและการเลือกตั้งของไทย (หน้า 164)
ครอบคลุมเรื่อง 1) การเมืองไทยปัจจุบัน 2) รัฐธรรมนูญของไทย
3) พรรคการเมืองและการเลือกต้งัของไทย
การน าเสนองานกลุ่มและสรุปบทเรียน
สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาค (หน้า 174)
บรรณานุกรม (หน้า 175)

ข้อมูลเพิ่มเติม

-ค าน า
GS ๔๑๑๐๕ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองของไทย
(Thai Constitutions and Political Institutions) เ ป็ นร า ยวิ ช า ใ น
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีขอบข่ายในการศึกษา
ก าหนดให้ “ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญ
ความหมายและประเภทของรัฐธรรมนูญ ศึกษาปรัชญาของ
แนวคิดต่างๆ ของระบบรัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism)
แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนหลักประกันในการ
คุ้มครองสิทธิเสรีภาพ หลักประชาธิปไตย หลักนิติธรรม (Rule of
Law) หลักการแบ่งแยกอ านาจและถ่วงดุลอ านาจซึ่งกันและกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดต่อ
รัฐธรรมนูญตามหลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
รวมท้งัศึกษาโครงสร้างและเน้ือหาของรัฐธรรมนูญไทย ระบบ
พรรคการเมืองและระบบการเลือกต้งัตามรัฐธรรมนูญไทย”
ผู้เขียนได้แจกแจงหัวข้อในการสอนกระบวนวิชา รัฐธรรมนูญและ
สถาบันทางการเมืองของไทย เป็นดังน้ีคือ 1) ความหมายและ
3
แนวคิดของรัฐธรรมนูญ, 2) ที่มาหรือแหล่งก าเนิดของรัฐธรรมนูญ
, 3) รัฐธรรมนูญกับการก าหนดโครงร่างทางการเมืองการปกครอง,
4) รัฐธรรมนูญกับกระบวนการทางการเมือง, 5) รัฐธรรมนูญกับ
การพัฒนาการเมือง, 6) ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมืองใน
ระบบประชาธิปไตย,7)การรับรองสิทธิพ้ืนฐานตามรัฐธรรมนูญ,
8) การรับรองความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญ, 9) สิทธิเสรีภาพ
ในทางปฏิบัติ,10) ประวัติและรัฐธรรมนูญไทย, 11) เจตนารมณ์
ของรัฐธรรมนูญไทย, 12) รัฐธรรมนูญกับการพัฒนาการเมืองไทย,
13) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560,และ 14) พรรค
การเมืองและการเลือกต้งัของไทย
ผู้สอนหวังว่าเอกสารประกอบการเรียนการสอนกระบวนวิชา
รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองของไทย จะเป็ นประโยชน์
ส าหรับนักศึกษาไดใ้ช้เป็นแนวทางส าหรับการศึกษาคน้ ควา้ที่ล้า
ลึกและพิสดารมากยิ่งข้ึนไปอีก และผูส้อนขอถือโอกาสน้ีกล่าว
ขอบคุณท่านผู้เขียนต ารับต าราและเอกสารทุกท่านที่ผู้สอน
น ามาใช้ในการเรียบเรียงเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา
4
รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองของไทย ตามที่ปรากฏนาม
ในบรรณานุกรมท้ายเล่ม
พลเรือตรีรองศาสตราจารย์ทองใบ ธีรานันทางกูร

คำนิยม
-GS ๔๑๑๐๕ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองของไทย
(Thai Constitutions and Political Institutions) เ ป็ นร า ยวิ ช า ใ น
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีขอบข่ายในการศึกษา
ก าหนดให้ “ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญ
ความหมายและประเภทของรัฐธรรมนูญ ศึกษาปรัชญาของ
แนวคิดต่างๆ ของระบบรัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism)
แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนหลักประกันในการ
คุ้มครองสิทธิเสรีภาพ หลักประชาธิปไตย หลักนิติธรรม (Rule of
Law) หลักการแบ่งแยกอ านาจและถ่วงดุลอ านาจซึ่งกันและกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดต่อ
รัฐธรรมนูญตามหลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
รวมท้งัศึกษาโครงสร้างและเน้ือหาของรัฐธรรมนูญไทย ระบบ
พรรคการเมืองและระบบการเลือกต้งัตามรัฐธรรมนูญไทย”
รายละเอียดหนังสือ
รหัสสินค้า: 5522840306982 (PDF) 176 หน้า
ชนิดกระดาษ: PDF
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน