0
เอกสารประกอบการสอน GS 44304 วิชาขอบเขต และวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ (Scope and Approaches in Political Science) หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการป
GS ๔๔๓๐๔ ขอบเขตและวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ (Scope and Approaches in Political Science) เป็นวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในสังเขปรายวิชากำหนดไว้ว่
e-books(PDF) ?250.00 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

-GS ๔๔๓๐๔ ขอบเขตและวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ (Scope and Approaches in Political Science) เป็นวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในสังเขปรายวิชากำหนดไว้ว่า ให้ศึกษา “ขอบเขต ลักษณะ พัฒนาการ แนวคิดวิเคราะห์ปัญหา และทฤษฎีสำคัญทางรัฐศาสตร์ เพื่อเป็นการปูพื้นฐานให้เข้าใจสื่อความคิด (Concepts) ที่สำคัญๆและประเด็นปัญหาต่างๆที่อาจหยิบยกมาศึกษาค้นคว้าทางรัฐศาสตร์”

สารบัญ

-สารบาญเรื่อง
สัปดาห์ที่ 1 แนะนำวิชา (หน้า 11)
สัปดาห์ที่ 2 ความหมาย และขอบเขตของรัฐศาสตร์ (หน้า 11)
-ความหมายของรัฐศาสตร์
-ขอบเขตของรัฐศาสตร์-
สัปดาห์ที่ 3 พัฒนาการและทิศทางในการศึกษาด้านรัฐศาสตร์ (หน้า 18)
-การศึกษารัฐศาสตร์ในยุคคลาสสิก
-การศึกษารัฐศาสตร์ในยุคสถาบัน
-การศึกษารัฐศาสตร์ในยุคเปลี่ยนผ่าน
-การศึกษารัฐศาสตร์ในยุคพฤติกรรมศาสตร์
-การศึกษารัฐศาสตร์ในยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์
สัปดาห์ที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ (หน้า 16)
-ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์
-ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับสังคมวิทยาและจิตวิทยา
-ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับเศรษฐศาสตร์
-ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์
สัปดาห์ที่ 5 การศึกษารัฐศาสตร์แนวปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมือง (หน้า 33)
-ความหมาย ความสำคัญของปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมือง
-วิธีการศึกษาปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมือง
-การศึกษาปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมือง
-ข้อจำกัดและปัญหาอุปสรรคในการศึกษาปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมืองในไทย
สัปดาห์ที่ 6 การศึกษารัฐศาสตร์ตามแนวทางสถาบัน (หน้า 42)
-แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษารัฐศาสตร์แนวทางสถาบัน
-การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางสถาบันกับการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
-ข้อวิพากษ์วิจารณ์และการปรับตัวของการศึกษารัฐศาสตร์แนวทางสถาบัน
-สรุปแนวทางการศึกษารัฐศาสตร์แนวทางสถาบัน
สัปดาห์ที่ 7 การศึกษารัฐศาสตร์ตามแนวจิตวิทยาทางการเมือง (หน้า 49)
-ปรากฏการณ์ทางการเมืองที่ต้องใช้แนวทางจิตวิทยาอธิบาย
-สิ่งกำหนดพฤติกรรม
-การได้มาซึ่งลักษณะนิสัย
-ปัจจัยทางจิตวิทยาในความแตกต่างของพฤติกรรมทางการเมือง
-พฤติกรรมของผู้นำการเมือง
สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค (หน้า 59)
สัปดาห์ที่ 9 การศึกษารัฐศาสตร์แนวกลุ่ม (หน้า 59)
-แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษารัฐศาสตร์แนวกลุ่ม
-กลุ่มผลประโยชน์กับพรรคการเมืองและขบวนการทางสังคม
-กลุ่มผลประโยชน์กับกระบวนการทางการเมือง
-ข้อวิพากษ์วิจารณ์ต่อการศึกษารัฐศาสตร์แนวกลุ่ม
สัปดาห์ที่ 10 การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางระบบ (หน้า 35)
-สภาพทั่วไปของระบบ
-รัฐศาสตร์กับการศึกษาเชิงระบบ
-การศึกษากระบวนการของระบบการเมือง: การศึกษาระบบ
-การศึกษาการทำหน้าที่ของระบบการเมือง: การวิเคราะห์เชิงหน้าที่
-การศึกษาการสื่อสารติดต่อและควบคุมระบบการเมือง: ไซเบอร์เนติกส์
-ข้อแตกต่างระหว่างแนวทางการวิเคราะห์และจุดอ่อนในการศึกษารัฐศาสตร์แนวทางระบบ
สัปดาห์ที่ 11 การศึกษาการเมืองตามแนวทางการตัดสินใจ (หน้า 78)
-การเมืองกับการตัดสินใจ
-การตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
-การตัดสินใจทางการเมืองนอกจากตัวแบบความสมเหตุสมผล
สัปดาห์ที่ 12 การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางเศรษฐศาสตร์การเมือง (หน้า 83)
-ขอบข่ายและแนวทางการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง
-เศรษฐศาสตร์การเมือง แนวทุนนิยม และแนวมาร์กซิสต์
-เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ
สัปดาห์ที่ 13 การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางนโยบายสาธารณะ (หน้า 90)
-แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
-พัฒนาการของนโยบายสาธารณะ ขอบข่าย และกระบวนการนโยบายสาธารณะ
-แนวทางศึกษานโยบายสาธารณะ
สัปดาห์ที่ 14 การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางอำนาจ (หน้า 97)
-นิยามพื้นฐานเกี่ยวกับอำนาจ
-แนวทางการศึกษาอำนาจในวิชารัฐศาสตร์
-อำนาจในประเด็นทางการเมืองร่วมสมัย
สัปดาห์ที่ 15 การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางการสื่อสาร/สรุปบทเรียน/สรุปบทเรียน (หน้า 103)
-ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารกับการเมือง
-อิทธิพลของการเมืองที่มีต่อการสื่อสาร
-อิทธิพลของการสื่อสารที่มีต่อการเมือง
สัปดาห์ที่ 16 สอบปลายภาค (หน้า 107)
บรรณานุกรม (หน้า 107)

ข้อมูลเพิ่มเติม

-คำนำ
GS ๔๔๓๐๔ ขอบเขตและวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ (Scope and Approaches in Political Science) เป็นวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในสังเขปรายวิชากำหนดไว้ว่า ให้ศึกษา “ขอบเขต ลักษณะ พัฒนาการ แนวคิดวิเคราะห์ปัญหา และทฤษฎีสำคัญทางรัฐศาสตร์ เพื่อเป็นการปูพื้นฐานให้เข้าใจสื่อความคิด (Concepts) ที่สำคัญๆและประเด็นปัญหาต่างๆที่อาจหยิบยกมาศึกษาค้นคว้าทางรัฐศาสตร์”
ผู้สอนได้จัดทำเอกสารประกอบการเรียนการสอนของกระบวนวิชา ขอบเขตและวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ นี้ โดยครอบคลุมในเรื่องต่อไปนี้ คือ 1) ความหมาย และขอบเขตของรัฐศาสตร์ 2) พัฒนาการและทิศทางในการศึกษาด้านรัฐศาสตร์ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ 4) การศึกษารัฐศาสตร์แนวปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมือง 5) การศึกษารัฐศาสตร์ตามแนวทางสถาบัน 6) การศึกษารัฐศาสตร์ตามแนวจิตวิทยาทางการเมือง 7) การศึกษารัฐศาสตร์แนวกลุ่ม 8) การศึกษาการเมืองตามแนวทางการตัดสินใจ 9) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางเศรษฐศาสตร์การเมือง 10) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางนโยบายสาธารณะ 11) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางอำนาจ และ 12) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางการสื่อสาร
ผู้สอนหวังว่าเอกสารประกอบการเรียนการสอนกระบวน วิชาขอบเขตและวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ จะเป็นประโยชน์สำหรับนักศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางสำหรับการศึกษาค้นคว้าที่ล้ำลึกและพิสดารมากยิ่งขึ้นไปอีก และผู้สอนขอถือโอกาสนี้กล่าวขอบคุณท่านผู้เขียนตำรับตำราและเอกสารทุกท่านที่ผู้สอนนำมาใช้ในการเรียบเรียงเอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาขอบเขตและวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ตามที่ปรากฏนามในบรรณานุกรมท้ายเล่ม
ดร.กรุณา มธุลาภรังสรรค์

คำนิยม
-ผู้สอนได้จัดทำเอกสารประกอบการเรียนการสอนของกระบวนวิชา ขอบเขตและวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ นี้ โดยครอบคลุมในเรื่องต่อไปนี้ คือ 1) ความหมาย และขอบเขตของรัฐศาสตร์ 2) พัฒนาการและทิศทางในการศึกษาด้านรัฐศาสตร์ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ 4) การศึกษารัฐศาสตร์แนวปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมือง 5) การศึกษารัฐศาสตร์ตามแนวทางสถาบัน 6) การศึกษารัฐศาสตร์ตามแนวจิตวิทยาทางการเมือง 7) การศึกษารัฐศาสตร์แนวกลุ่ม 8) การศึกษาการเมืองตามแนวทางการตัดสินใจ 9) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางเศรษฐศาสตร์การเมือง 10) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางนโยบายสาธารณะ 11) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางอำนาจ และ 12) การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางการสื่อสาร
รายละเอียดหนังสือ
รหัสสินค้า: 5522840306968 (PDF) 107 หน้า
ชนิดกระดาษ: PDF
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน