0
เอกสารประกอบการสอน GS 44306 วิชาการเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลักสูตร รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง (PDF)
GS ๔๔๓๐๖ การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรายวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีขอบข่ายในการศึกษากำหนดให้ “ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับ
e-books(PDF) ?250.00 บาท
เนื้อหาโดยสังเขป

-GS ๔๔๓๐๖ การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรายวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีขอบข่ายในการศึกษากำหนดให้ “ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับนโยบายต่างๆของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”

สารบัญ

-สารบาญ
1) แนวความคิดเรื่องการเมือง (หน้า 6)
2)แนวความคิดเรื่องนโยบาย (หน้า 20)
3) ความสัมพันธ์ของระบบการเองและนโยบายสาธารณะ (หน้า 37)
4) ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (หน้า 45)
5) การเมืองและนโยบายของประเทศบรูไนดารุสซาลาม (หน้า 66)
6) การเมืองและนโยบายของประเทศไทย (หน้า 80)
7) การเมืองและนโยบายของประเทศมาเลเซีย (หน้า 94)
8) สอบกลางถาค
9) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หน้า 113
10) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ (หน้า 125)
11) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (หน้า 138)
12) การเมืองและนโยบายของประเทศสหภาพพม่า (หน้า 149)
13) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (หน้า 164)
14) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐเวียดนาม (หน้า 177)
15) การเมืองและนโยบายของประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา (หน้า 190)
16) สอบปลายภาค (หน้า 205)
เอกสารที่ใช้เรียบเรียง (หน้า 206)

ข้อมูลเพิ่มเติม

-คำนำ
GS ๔๔๓๐๖ การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรายวิชาในหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีขอบข่ายในการศึกษากำหนดให้ “ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับนโยบายต่างๆของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
ผู้เขียนได้แจกแจงหัวข้อในการสอนกระบวนวิชา การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 1) แนวความคิดเรื่องการเมือง 2) แนวความคิดเรื่องนโยบาย 3) ความสัมพันธ์ของระบบการเองและนโยบายสาธารณะ 4) ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5) การเมืองและนโยบายของประเทศบรูไนดารุสซาลาม 6) การเมืองและนโยบายของประเทศไทย 7) การเมืองและนโยบายของประเทศมาเลเซีย 8) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 9) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ 10) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย 11) การเมืองและนโยบายของประเทศสหภาพพม่า 12) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 13) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐเวียดนาม และ 14) การเมืองและนโยบายของประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา
ผู้สอนหวังว่าเอกสารประกอบการเรียนการสอนกระบวน การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะเป็นประโยชน์สำหรับนักศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางสำหรับการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของไทย ที่ล้ำลึกและพิสดารมากยิ่งขึ้นไปอีก
ผู้สอนขอถือโอกาสนี้กล่าวขอบคุณท่านผู้เขียนตำรับตำราและเอกสารทุกท่านที่ผู้สอนนำมาใช้ในการเรียบเรียงเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามที่ปรากฏนามในบรรณานุกรมท้ายเล่ม
พลเรือตรี รองศาสตราจารย์ ทองใบ ธีรานันทางกูร

คำนิยม
-ผู้เขียนได้แจกแจงหัวข้อในการสอนกระบวนวิชา การเมืองและนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 1) แนวความคิดเรื่องการเมือง 2) แนวความคิดเรื่องนโยบาย 3) ความสัมพันธ์ของระบบการเองและนโยบายสาธารณะ 4) ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5) การเมืองและนโยบายของประเทศบรูไนดารุสซาลาม 6) การเมืองและนโยบายของประเทศไทย 7) การเมืองและนโยบายของประเทศมาเลเซีย 8) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 9) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ 10) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย 11) การเมืองและนโยบายของประเทศสหภาพพม่า 12) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 13) การเมืองและนโยบายของประเทศสาธารณรัฐเวียดนาม และ 14) การเมืองและนโยบายของประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา
รายละเอียดหนังสือ
รหัสสินค้า: 5522840306951 (PDF) 206 หน้า
ชนิดกระดาษ: PDF
สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน